สถิติการใช้งาน

5805290
วันนี้
วานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
รวม
3863
13640
32706
5732874
17503
135635
5805290

Your IP: 3.144.28.50
2024-05-02 08:57

มี 63 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

 

หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

  • หลักเกณฑ์การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร

              ประกาศ ก.ถ.เรื่อง กำหนดมาตรฐานกลางบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น

          -  ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัดสุรินทร์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตำบล

  • หลักเกณฑ์การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร

           -  ประกาศ ก.อบต. เรื่องมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการสอบแข่งขัน พ.ศ.2560

           -  ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัดสุรินทร์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตำบล

            -  ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัดสุรินทร์ เรื่อง  ประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตำบล

            -  ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัดสุรินทร์  เรื่องหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตำบล แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 60) พ.ศ.2559

            -  ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัดสุรินทร์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือนพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษา  องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2562

          หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร  ประจำปี

          -ประกาศการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานส่วนตำบลและพนักงานจ้าง

          -หลักเกณฑ์และการประเมินผลการปฏิบัติราชการของพนักงานส่วนตำบล

          -หลักเกณฑ์และการประเมินผลการปฏิบัติราชการของพนักงานครู

          - หลักเกณฑ์และการประเมินผลการปฏิบัติราชการของพนักงานจ้าง

        - หลักเกณฑ์การเลื่อนค่าตอบแทนพนักงานจ้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

  •  หลักเกณฑ์การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ                 

         -  ประกาศ ก.อบต. เรื่องมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการกำหนดหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการพนักงานส่วนท้องถิ่น
         -  ประกาศ-ก.อบต.จ.สร.-หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวนและลงโทษทางวินัย
         -  ประกาศ ก.อบต.จังหวัดสุรินทร์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการอทุธรณ์ และการร้องทุกข์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565

         -  หลักเกณฑ์การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ  ประจำปี  2563

         -  หลักเกณฑ์การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ  ประจำปี  2564

 

 

 

 

 

สภาพทั่วไป

สภาพทั่วไป

       ที่ตั้งและอาณาเขต

       องค์การบริหารส่วนตำบลนาบัว อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็น 1 ใน 20 องค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตอำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ โดยองค์การบริหารส่วนตำบลนาบัว อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองสุรินทร์ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้เป็นระยะทาง ประมาณ 20 กิโลเมตร มีอาณาเขตพื้นที่ ติดต่อกันกับท้องถิ่นใกล้เคียง 4 ส่วน คือ ดังนี้

           ทิศเหนือ          จรด     องค์การบริหารส่วนตำบลตระแสง อ. เมืองสุรินทร์ 

           ทิศตะวันออก     จรด     องค์การบริหารส่วนตำบลเฉนียง อ.เมืองสุรินทร์

            ทิศตะวันตก      จรด     องค์การบริหารส่วนตำบลสวาย อ. เมืองสุรินทร์

            ทิศใต้             จรด     องค์การบริหารส่วนตำบลไพร , ประทัดบุ , เชื้อเพลิง อ.ปราสาท

เนื้อที่  

หมู่ที่

บ้าน

เนื้อที่

อันดับ

1

นาบัว

1,181

17

2

ระสีสัน

2,157

7

3

กระยูง

3,306

1

4

ละหุ่ง

3,210

2

5

นาเสือก

2,787

3

6

นาสาม

2,404

6

7

ตรม

1,190

16

8

กะทม

2,559

5

9

ตระงอล

2,743

4

10

โดนโอก

2,025

8

11

หนองกก

1,278

12

12

ปะปูล

759

19

13

ปอยตะแบง

1,122

15

14

ตังกอ

1,500

11

15

หนองกระทม

1,201

14

16

โคกสะอาด

1,236

13

17

ไทรทาบ

1,560

10

18

สระบัว

1,670

9

19

เสม็ด

1,070

18

องค์การบริหารส่วนตำบลนาบัว อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์   มีพื้นที่ 34,958 ไร่ หรือ 74.50 ตารางกิโลเมตร เท่ากับร้อยละ 0.91 ของพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ โดยมีเนื้อที่แยกเป็นรายหมู่บ้าน ดังนี้  

ประชากร

      จำนวนประชากร และความหนาแน่นประชากร จากฐานข้อมูลสำนักบริหารการทะเบียน ณ วันที่ 11 เดือนกันยายน ๒๕๕๖ ของตำบลนาบัว มีจำนวนทั้งสิ้น ๑๒,๕๑๒ คน จำแนกเป็นชาย ๖,๒๐๖ คน เป็นหญิง ๖,๓๐๖ คน จำนวนครัวเรือน ๓,๗๔๓ ครัวเรือน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 168 คน ต่อตารางเมตร

หมู่ที่

บ้าน

ชาย

หญิง

รวม

1

นาบัว

297

291

588

2

ระสีสัน

178

185

363

3

กระยูง

372

354

726

4

ละหุ่ง

235

253

488

5

นาเสือก

424

417

841

6

นาสาม

333

319

652

7

ตรม

344

391

735

8

กะทม

486

517

1,003

9

ตระงอล

537

510

1,047

10

โดนโอก

493

511

1,004

11

หนองกก

272

286

558

12

ปะปูล

131

146

277

13

ปอยตระแบง

312

322

634

14

ตังกอ

177

174

351

15

หนองกระทม

412

375

787

16

โคกสะอาด

365

348

713

17

ไทรทาบ

260

285

545

18

สระบัว

376

408

784

19

เสม็ด

202

214

416

รวมทั้งสิ้น

6,206

6,306

12,512

 

จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริง ณ วันสำรวจ แยกตามช่วงอายุ ปี 2557

ช่วงอายุประชากร

จำนวนเพศชาย

(คน)

จำนวนเพศหญิง(คน)

จำนวนรวม(คน)

น้อยกว่า 1 ปีเต็ม

19

30

49

1 ปีเต็ม – 2 ปี

94

75

169

3 ปีเต็ม – 5 ปี

199

148

347

6 ปีเต็ม – 11 ปี

409

381

790

12 ปีเต็ม – 14 ปี

227

187

414

15 ปีเต็ม – 17 ปี

253

229

482

18 ปีเต็ม – 25 ปี

510

448

958

26 ปีเต็ม – 49 ปีเต็ม

1,457

1,514

2,971

50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม

635

786

1,421

มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป

908

1,136

2,044

รวมทั้งหมด

4,711

4,934

9,645

* หมายเหตุ จากผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานระดับตำบล ปี 2557

ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศ

          ลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเหมาะแก่การเพาะปลูก สภาพพื้นที่เป็นที่ราบสูงสภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย ประชากรส่วนใหญ่อาศัยกระจัดกระจาย โดยประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก

สภาพภูมิอากาศ มี 3 ฤดู คือ

          ฤดูฝน จากเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม

          ฤดูหนาว จากเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์

          ฤดูร้อน จากเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม

สภาพทางเศรษฐกิจ

สภาพทางเศรษฐกิจ

          1) การประกอบอาชีพ

          ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้จากการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม (ทำนา) เป็นหลัก เพราะพื้นที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูก ผลผลิตที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ ซึ่งเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ประชากรยังประกอบอาชีพด้านการเลี้ยงสัตว์ไว้สำหรับบริโภคในครัว เรือน เลี้ยงไว้ใช้งานและจำหน่าย เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ เป็นต้น       

          2) หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล

- ปั้มน้ำมัน / แก๊ส                2       แห่ง

- โรงงานอุตสาหกรรม           19      แห่ง

- โรงสี                             40     แห่ง

3) รายได้

          เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบ เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม ดังนั้น รายได้ส่วนใหญ่ของคนในตำบลจึงมาจากเกษตรกรรม รายได้เฉลี่ยต่อปีของประชากร ดังนี้